สาเหตุหายใจไม่ออก ปัจจัยที่ส่งผลข้างเคียงที่หลายคนกำลังพบเจออยู่
Rojjana Liaseaum Posted on 1:09 pm

สาเหตุหายใจไม่ออก ปัจจัยที่ส่งผลข้างเคียงที่หลายคนกำลังพบเจออยู่

อาการหายใจไม่ออก ตอนที่กำลังนอนหลับช่วงกลางคืน กลายเป็นปัญหาสุขภาพที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ อาหารเพื่อสุขภาพ จากเดิมที่มักจะพบในคนที่อายุมากแล้ว มีน้ำหนักตัวเยอะมาก หรือมีโรคประจำตัวบางอย่าง อาหารเพื่อสุขภาพ ตอนนี้กลับพบในวัยรุ่นและวัยทำงานสูงขึ้น แถมปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดอาการนี้ยังมีความหลากหลายมากขึ้นด้วย

วันนี้เราจึงนำ สาเหตุหายใจไม่ออก บางส่วนมาฝากกันเช่นเคย เพื่อให้คนที่มีปัญหาอยู่สามารถพิจารณาได้ว่าตัวเองน่าจะเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงไหนอยู่ แล้วจะแก้ไขอย่างไร

สาเหตุหายใจไม่ออก

สาเหตุหายใจไม่ออก ที่ต้องรีบรักษาก่อนที่จะเป็นหนัก

สาเหตุหายใจไม่ออก สาเหตุแรกที่หลายคนมองข้ามไป ก็คือ อาการภูมิแพ้ที่เป็นอยู่แล้ว หากผู้ที่มีอาการหายใจไม่ออกในช่วงเวลากลางคืนนั้น มีประวัติเป็นโรคภูมิแพ้อยู่ก่อนแล้ว ไม่ว่าจะเป็นภูมิแพ้ประเภทไหนก็ตาม ล้วนมีโอกาสสูงที่อาการจะกำเริบขึ้นระหว่างหลับได้

ยิ่งถ้าภายในห้องนอนมีสิ่งกระตุ้น อาการที่เกิดก็ยิ่งรุนแรง บางคนถึงกับนอนไม่ได้เลยทีเดียว ทางแก้จึงเป็นการออกกำลังกายเสริมความแข็งแรง พร้อมดูแลห้องให้สะอาดและมีอากาศปลอดโปร่งเสมอ

สาเหตุหายใจไม่ออก ที่ต้องรีบรักษาก่อนที่จะเป็นหนัก

สาเหตุหายใจไม่ออก สาเหตุต่อมาที่หลายคนมองข้ามไป ก็คือ หายใจไม่ออกเพราะน้ำหนักตัวมากเกินไป เชื่อหรือไม่ว่านี่เป็นปัจจัยอันดับต้นๆ ของอาการหายใจไม่ออกของคนยุคนี้เลย ด้วยอาหารการกินและวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ค่าเฉลี่ยในด้านน้ำหนักตัวเพิ่มสูงขึ้น

บางคนรูปร่างยังไม่ชัดแต่ปริมาณไขมันสูงจนเสี่ยงจะเกิดโรคร้ายแรงแล้ว ลองสังเกตดูว่าถ้าเราเริ่มนอนนานแล้วยังเพลีย นอนแล้วฝันตลอด หรือนอนแล้วรู้สึกไม่ค่อยสบายตัวเท่าไร ก็ต้องรีบควบคุมน้ำหนักได้แล้ว ก่อนที่จะมีปัญหาเกี่ยวกับระบบหายใจตามมา

สาเหตุหายใจไม่ออก เนื่องจากปอดติดเชื้อ

สาเหตุหายใจไม่ออก สาเหตุสุดท้ายที่หลายคนมองข้ามไป ก็คือ หายใจไม่ออกเนื่องจากปอดติดเชื้อ ประเด็นนี้ถือว่าร้ายแรงที่สุดกับอาการหายใจไม่ออก เพราะผู้ป่วยจะไม่รู้เลยว่าไปติดเชื้ออะไรมา และติดมาตั้งแต่เมื่อไร มันเป็นเรื่องที่ระวังได้ยากและจำเป็นต้องเข้าพบแพทย์เพื่อตรวจหาสาเหตุเท่านั้น

แต่ในเบื้องต้นเราสังเกตเองได้ว่าจะเข้าข่ายนี้ไหม คือมีอาการไอแบบมีเสมหะหรือมีน้ำมูกต่อเนื่องหลายสัปดาห์ เวลานอนอาจมีเสียงวีดในอกหรือในคอ ทำให้ต้องไอตลอดเวลา คอแห้งหรือเจ็บคอร่วมด้วย ถ้ากินยาแล้วไม่ดีขึ้นต้องพบแพทย์โดยเร็ว