Bim Posted on 6:30 am

อวัยวะ ภายในร่างกายทุกส่วนทำงานอยู่ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง

เราทุกคนมีเวลา 24 ชั่วโมงเท่ากัน ซึ่งทุกคนก็มีวันหยุดเป็นของตัวเราเองบางคนอาจจะทำงานหยุด 1 วันใน 1 อาทิตย์บางคนก็อาจจะหยุด 2 วัน แต่มีสิ่งหนึ่งที่ไม่เคยหยุดทำงานเลยนั่นก็คือ ร่างกายของเรา อวัยวะ ทุกส่วนยังทำงานอยู่ตลอดเวลาทุก 24 ชั่วโมง ไม่ว่าจะเป็นหัวใจที่ยังเต้นอยู่เพื่อสูตรฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย สมองของเราที่ยังคอยสั่งการส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย

อวัยวะ ทุกส่วนภายในร่างกายคนเรา

รวมถึงความคิดของเราที่เราต้องขึ้นการใช้สมองสติสัมปชัญญะ หรือแม้กระทั่งปอดของเราที่คอยฟอกอากาศเพื่อนำออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เห็นไหมว่าอวัยวะนั้นทำงานอยู่ตลอดเวลาและเมื่อเวลาผ่านไปสิ่งเหล่านี้ก็จะเริ่มเสื่อมสภาพไปตามอายุของเราที่มากขึ้น ดังนั้นเราก็ควรจะดูแลสุขภาพอวัยวะของเราให้แข็งแรงเพราะอวัยวะของเรานั้นไม่ได้มีวันพักผ่อนเหมือนพวกเรา  

อวัยวะ

อวัยวะภายในร่างกายของเรามีเวลาทำงานของมันอยู่ ซึ่งเวลาช่วง 9:00 น ถึง 11:00 น ก็เป็นเวลาของม้ามที่ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพมากที่สุด ม้ามเป็นอวัยวะที่คอยควบคุมและขนส่งไม่ว่าจะเป็นการควบคุมเลือด ควบคุมการย่อย ควบคุมการดูดซึม และทำหน้าที่ลำเลียงสารอาหารและน้ำไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย

นอกจากนี้ม้ามยังคุ้มกันให้แก่ร่างกายรวมถึงกำจัด เซลล์เม็ดเลือดแดงที่เสียไปแล้วอีกด้วย เมื่อม้ามกำจัดเลือดเสียก็จะสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดงที่เป็นเซลล์ใหม่ขึ้นมา  และในช่วง 9:00 น ถึง 11:00 น นั้นร่างกายนั้นถือเป็นช่วงที่มีการตื่นตัวมากที่สุดการออกไปขยับร่างกายเล็ก ๆ น้อย ๆ หรือการออกไปทำกิจกรรมต่าง ๆ

อวัยวะ

ไม่ว่าจะเป็นการทำงานการออกไปท่องเที่ยวหรือทํางานอดิเรก  นั้นร่างกายนั้นถือเป็นช่วงที่มีการตื่นตัวมากที่สุดการออกไปขยับร่างกายเล็ก ๆ น้อย ๆ หรือการออกไปทำกิจกรรมต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการทำงานการออกไปท่องเที่ยวหรือทํางานอดิเรกก็จะ ก็จะทำให้อวัยวะของเรานั้นเริ่มทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และการดื่มน้ำก็จะช่วยให้ม้ามทำงานได้ดีขึ้น

ดังนั้นการมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงก็ขึ้นอยู่กับอวัยวะของร่างกายที่แข็งแรงด้วยเช่นกันการเกิดมาทำสิ่งต่างๆในช่วงเวลาต่าง ๆ นั้นก็เป็นปัจจัยที่ทำให้อวัยวะแข็งแรง ไม่ว่าจะเป็นการเข้านอนให้ตรงเวลา การตื่นตอนเช้า การรับประทานอาหารเช้า ก็เป็นสิ่งที่ช่วยให้ร่างกายแข็งแรงมากขึ้น 

ติดตามข่าวสุขภาพและติดตามข่าวสุขภาพอื่นๆ เช่น อาการ “สายตามัว” มองไม่ชัด จะสามารถแก้ไขอย่างไรได้บ้าง?